xvideos2.com

very sexy video

xnxx

ขอจดลิขสิทธิ์

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์

บทนำ

บัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำระบบและกลไกสำหรับช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ ของบุคลากรในหลักสูตรที่สังกัด  โดยมีนโยบายส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาผลงานวิจัย นวัตกรรม และผลงานสร้างสรรค์ อันเป็นทรัพย์สินทางปัญญาของมหาวิทยาลัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพ อีกทั้งได้รับการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ ซึ่ง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคำแหง เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการดำเนินงาน  โดยระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์นี้ จะช่วยให้การคุ้มครองสิทธิ์ในงานที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ และสามารถดำเนินการตามระบบที่กำหนดไว้  

ระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ ดังกล่าว มีดังต่อไปนี้

    1. ความรู้ด้านลิขสิทธิ์ ได้แก่
        1.1   ลักษณะทั่วไปของกฎหมายลิขสิทธิ์
        1.2   ประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์
        1.3   ผลงานที่ไม่ถือว่ามีลิขสิทธิ์
        1.4   การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์
        1.5   เจ้าของลิขสิทธิ์
        1.6   การคุ้มครองลิขสิทธิ์
        1.7   อายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์
        1.8   ประโยชน์ของลิขสิทธิ์
        1.9   การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์
    2. การจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร และลิขสิทธิ์ ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง
    3. ขั้นตอน ระยะเวลาและส่วนงานที่รับผิดชอบ-ลิขสิทธิ์
    4. แบบฟอร์ม ตัวอย่าง และคู่มือการกรอกลิขสิทธิ์

    อนึ่ง  หวังว่า ระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัย นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ ทั้งหมดนี้ จะได้เกิดประโยชน์แก่บุคลากรในหลักสูตรที่สังกัด และผู้สนใจ ตามสมควร

 

                                                                                                                                                บัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 

 

ความรู้ด้านลิขสิทธิ์

พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ได้ให้ความคุ้มครองแก่งานลิขสิทธิ์ โดยกำหนดให้เจ้าของลิขสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียว ในการแสวงหาประโยชน์จากการสร้างสรรค์ทางสติปัญญาของตน เพื่อเป็นการตอบแทนความคิดสร้างสรรค์ของเจ้าของลิขสิทธิ์ และก่อให้เกิดแรงจูงใจในการสร้างสรรค์งานใหม่ ๆ และเมื่อบุคคลใดใช้ความรู้ ความสามารถทางสติปัญญา พยายามสร้างสรรค์ผลงานขึ้นมาแล้ว ย่อมเป็นการสมควรที่จะได้รับประโยชน์อันเกิดจากความอุตสาหะ โดยการให้สิทธิ์แต่ผู้เดียวในการนำงานนั้น ออกเผยแพร่ จำหน่าย หรือกระทำการใด ๆ อันก่อให้เกิดประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ชื่อเสียงเกียรติคุณ การให้ความคุ้มครองแก่ผู้สร้างสรรค์ เมื่อมีการทำซ้ำ หรือดัดแปลง นำออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน โดยมิได้รับอนุญาตแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 27 ให้ถือว่า เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ของเจ้าของลิขสิทธิ์ ต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้สร้างสรรค์ แต่เพื่อเป็นการคุ้มครองประโยชน์ของสาธารณะ หรือให้บุคคลอื่น ซึ่งใช้สิทธิโดยสุจริตในการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา ให้ได้รับความคุ้มครองจากความผิดฐานเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ แก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่น จึงมีหลักเกณฑ์ในการกระทำอย่างไม่ถือว่า เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ หรือให้งานบางงานไม่ถือเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ ตามมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์

ลิขสิทธิ์ จึงเป็นสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำขึ้น โดยการแสดงออกตามประเภทงานลิขสิทธิ์ต่าง ๆ ลิขสิทธิ์เป็นผลงานที่เกิดจากการใช้สติปัญญา ความรู้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะในการสร้างสรรค์งานให้เกิดขึ้น ซึ่งถือว่า เป็น “ทรัพย์สินทางปัญญา” ประเภทหนึ่ง ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ ดังนั้น เจ้าของผลงานทางลิขสิทธิ์ จึงควรได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ลิขสิทธิ์เป็นทรัพย์สินประเภทที่สามารถซื้อขาย หรือโอนสิทธิกันได้ ทั้งทางมรดก หรือโดยวิธีอื่น ๆ การโอนสิทธิ์ควรที่จะทำเป็นลายลักษณ์อักษร หรือทำเป็นสัญญาให้ชัดเจน จะโอนสิทธิทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนก็ได้

ลักษณะทั่วไปของกฎหมายลิขสิทธิ์

ความหมายของลิขสิทธิ์ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 4 ได้กำหนดนิยามของ “ลิขสิทธิ์ หมายความว่า สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำการใด ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำขึ้น” และเจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมมีสิทธิแต่ผู้เดียว ดังต่อไปนี้

     (1) ทำซ้ำเพื่อดัดแปลง
     (2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน
     (3) ให้เช่าต้นฉบับจริง หรือสำเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง
     (4) ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น
     (5) อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิตาม (1) (2) และ (3) โดยกำหนดเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งหรือไม่ก็ได้ แต่เงื่อนไขดังกล่าว จะกำหนดในลักษณะที่เป็นการจำกัดการแข่งขัน โดยไม่เป็นธรรม หรือไม่ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง

     ดังนั้น การที่กฎหมายบัญญัติว่า เจ้าของลิขสิทธิ์แต่ผู้เดียวในการกระทำต่องานของตนที่จะทำซ้ำหรือดัดแปลง เผยแพร่ต่อสาธารณชน ให้เช่าต้นฉบับหรือสำเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเรื่อง ให้ประโยชน์อันเกิดจากงานลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น และอนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิของตนได้นั้น ผู้อื่นจึงไม่สามารถที่จะมีสิทธิกระทำการเหล่านั้น ถ้าไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของสิทธิ์ หากฝ่าฝืนกระทำการ ก็จะเป็นการล่วงหรือละเมิดลิขสิทธิ์เจ้าของลิขสิทธิ์

 

ประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์  

ลิขสิทธิ์จะมีได้ในงาน 9 ประเภท (พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 6)

ลำดับที่

ประเภทงาน

ลักษณะงาน

   1

งานวรรณกรรม

หนังสือ จุลสาร สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ งานนิพนธ์อื่น ๆ

   2

งานนาฏกรรม

ท่ารำ ท่าเต้น การแสดงใบ้ การแสดงที่ประกอบขึ้นเป็นเรื่องราว

   3

ศิลปกรรม

งานจิตรกรรม งานประติมากรรม งานภาพพิมพ์ งานสถาปัตยกรรม งานภาพถ่าย ภาพประกอบ แผนที่โครงสร้าง งานศิลปประยุกต์ และรวมทั้งภาพถ่ายแผนผังของงาน

   4

สิ่งบันทึกเสียง

เทปเพลง แผ่นคอมแพ็คดิสก์

   5

โสตทัศนวัสดุ

วิดีโอเทป แผ่นเลเซอร์ดิสก์

   6

ภาพยนตร์

                     -

   7

ดนตรีกรรม

งานที่เกี่ยวกับเพลง ทำนองและเนื้อร้อง หรือทำนองอย่างเดียว
และรวมถึงโน้ตเพลงที่ได้แยกและเรียบเรียงเสียงประสานแล้ว

   8

งานแพร่เสียงและภาพ

งานที่นำออกเผยแพร่ทางวิทยุกระจายเสียงหรือโทรทัศน์

   9

งานอื่นใดอันเป็นงานในแผนวรรณคดี
แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ

ลายถัก ลายปัก อื่น ๆ

 

ผลงานที่ไม่ถือว่ามีลิขสิทธิ์ (พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 7)

1.  ข่าวประจำวัน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสาร อันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ
2.  รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
3.  ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง คำชี้แจง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม

     หน่วยงานของรัฐ หรือของท้องถิ่น
4.  คำพิพากษา คำสั่ง คำวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
5.  คำแปลและการรวบรวมตามข้อ 3.1 –3.4 ซึ่งทางราชการจัดทำขึ้น

 

การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ สิทธิ์ในลิขสิทธิ์จะเกิดขึ้นโดยทันที นับตั้งแต่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ผลงานโดยไม่ต้องจดทะเบียน
ดังนั้น เจ้าของลิขสิทธิ์จึงควรที่จะปกป้องคุ้มครองสิทธิ์ของตนเอง โดยการเก็บรวบรวมหลักฐานต่างๆ ที่ได้ทำการสร้างสรรค์ผลงานนั้นขึ้น
เพื่อประโยชน์ในการพิสูจน์ หรือความเป็นเจ้าของในโอกาสต่อไป (พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 8)

 

เจ้าของลิขสิทธิ์ เจ้าของสิทธิ์นอกจากจะเป็นผู้สร้างสรรค์งานแล้ว บุคคลอื่นอาจมีสิทธิ์ในงานที่สร้างสรรค์นั้นก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงต่าง ๆ ในการได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ เช่น การสร้างสรรค์งานร่วมกัน การว่าจ้างให้สร้างสรรค์งาน การโอนสิทธิ์ในลิขสิทธิ์ เป็นต้น ดังนั้น ผู้มีลิขสิทธิ์จะเป็นบุคคล หรือกลุ่มบุคคล ดังต่อไปนี้

1.  ผู้สร้างสรรค์งานขึ้นใหม่ ทั้งนี้ สร้างสรรค์งานด้วยตนเองเพียงผู้เดียว หรือผู้สร้างสรรค์งานร่วมกัน
2.  ผู้สร้างสรรค์ในฐานะพนักงาน หรือลูกจ้าง
3.  ผู้ว่าจ้าง
4.  ผู้รวบรวมหรือประกอบกันเข้า
5.  กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรับหรือท้องถิ่น
6.  ผู้รับโอนลิขสิทธิ์
7.  ผู้สร้างสรรค์ซึ่งเป็นคนชาติภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศ เช่น อนุสัญญากรุงเบอร์น และประเทศในภาคีสมาชิกโองการค้าโลก
8.  ผู้พิมพ์โฆษณางานที่ใช้นามแฝง หรือนามปากกาที่ไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์

 

การคุ้มครองลิขสิทธิ์ เจ้าของลิขสิทธิ์มีสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำการใด ๆ ต่องานอันมีลิขสิทธิ์ของตน (พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 15) ดังนี้

1.  ทำซ้ำ หรือดัดแปลง
2.  การเผยแพร่ต่อสาธารณชน
3.  ให้เช่าต้นฉบับ หรือสำเนางาน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง
4.  ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น
5.  อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิ์ในการเช่าซื้อ ดัดแปลง เผยแพร่ต่อสาธารณชน และให้เช่าต้นฉบับ
6.  อายุแห่งการคุ้มครองลิขสิทธิ์

 

อายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์ โดยทั่วไปการคุ้มครองลิขสิทธิ์จะมีผลเกิดขึ้นโดยทันทีที่มีการสร้างสรรค์ผลงาน โดยความคุ้มครองนี้ จะมีผลตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และจะคุ้มครองต่อไปอีก 50 ปี นับตั้งแต่ผู้สร้างสรรค์เสียชีวิต หากแต่มีงานบางประเภทจะมีการคุ้มครองที่แตกต่างกันไป โดยสรุปดังนี้

1.  ในงานทั่วไป ลิขสิทธิ์จะมีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ และจะมีต่อไปอีก 50 ปี นับตั้งแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย กรณีเป็นผู้สร้างสรรค์ร่วม ก็ให้นับจากผู้สร้างสรรค์คนสุดท้ายถึงแก่ความตาย กรณีเป็นนิติบุคคลลิขสิทธิ์จะมีอายุ 50 ปี นับตั้งแต่ที่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น กรณีผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ ลิขสิทธิ์มีอายุ 50 ปี นับตั้งแต่ได้สร้างสรรค์งานนั้นขึ้น
2.  งานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ หรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพ ลิขสิทธิ์มีอายุ 50 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานขึ้น
3.  งานที่สร้างสรรค์โดยการว่าจ้าง หรือตามคำสั่งให้มีอายุ 50 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานขึ้น
4.  งานศิลปประยุกต์ ลิขสิทธิ์จะมีอายุ 25 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานขึ้น กรณีที่ได้มีการโฆษณางานเหล่านั้น ในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว ให้ลิขสิทธิ์มีอายุต่อไปอีก 50 ปี นับตั้งแต่โฆษณาครั้งแรก ยกเว้นในกรณีงานศิลปประยุกต์ให้ลิขสิทธิ์มีอายุต่อไปอีก 25 ปี นับแต่โฆษณาครั้งแรก

 

ประโยชน์ของลิขสิทธิ์

  1. เจ้าของลิขสิทธิ์ที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ และมีสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้น ดังนั้น เจ้าของลิขสิทธิ์จะมีสิทธิ์ทำซ้ำ หรือดัดแปลง จำหน่าย ให้เช่า คัดลอก เลียนแบบ ทำสำเนา การทำให้ปรากฏต่อสาธารณชน หรืออนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิ์ของตนทั้งหมด หรือแต่บางส่วนก็ได้ โดยเจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม
  2. การคุ้มครองสิทธิ์ในผลงานลิขสิทธิ์มีผลให้เกิดแรงจูงใจแก่ผู้สร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์ มีคุณค่าทางวรรณกรรมและศิลปกรรมออกสู่ตลาดให้มากขึ้น ส่งผลให้ผู้บริโภคได้รับความรู้ ความบันเทิง และได้ผลงานที่มีคุณภาพ

 

การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์เป็นสิทธิ์ที่เกิดขึ้นทันทีที่มีการสร้างสรรค์ผลงาน โดยไม่ต้องจดทะเบียน อย่างไรก็ตาม กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ได้จัดทำให้มีการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งในการพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิ์เจ้าของลิขสิทธิ์ นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับผู้ต้องการขออนุญาตใช้ลิขสิทธิ์ สามารถตรวจค้นเพื่อประโยชน์ในการติดต่อธุรกิจกับเจ้าของลิขสิทธิ์ ด้วยการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ไม่ได้หมายความว่า จะทำให้ผู้แจ้งได้รับสิทธิ์ในผลงานนั้น หรือเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ดังนั้น การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ จะไม่ก่อให้เกิดลิขสิทธิ์ใด ๆ เพิ่มขึ้นจากสิทธิ์ที่มีอยู่เดิม ของเจ้าของลิขสิทธิ์ที่แท้จริง

 

- การจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร และลิขสิทธิ์ ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง

- ขั้นตอน ระยะเวลาและส่วนงานที่รับผิดชอบ-ลิขสิทธิ์

- แบบฟอร์ม ตัวอย่าง และคู่มือการกรอกลิขสิทธิ์

 

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง : Graduate School Ramkhamhaeng University

อาคารท่าชัย ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 : Thachai Building, Ramkhamhaeng Road, Hua Mak Subdistrict, Bang Kapi District, Bangkok 10240

หมายเลขโทรศัพท์ -คลิ๊กที่นี่- Email : graduate@ru.ac.th

Official Website : www.grad.ru.ac.th



 

teens anal sex outdoors
khosra xxx teen sex video ffm squirt and cum girlfriend surprise share
realpornfilms.com
xxxteenhub.info romanporn.com xxxmeri.com hotporntub.info asianpornxxx.info hdxxxporn.club
pornmalaysia.com sextresss.xyz duvpornxxx.com toutpornxxx.org xpornpalace.com hubpornindian.info
Hot sex film Free porn tube Hd porn Xxx clips
pornominutes.net adultpornmovie.ws eniporn.com
sex video
hpornvideo.com
Hd sex tube

xhaloporn

Porn tube videos